เพิ่ม Conversion Rate

เพิ่ม Conversion Rate ในเว็บไซต์ ด้วย 3 วิธีการง่าย ๆ แต่ได้ผลจริง หลังจากทำ Content Marketing

เพิ่ม Conversion Rate ในเว็บไซต์ จะสามารถทำวิธีอะไรได้บ้าง หลังจากที่ทำ Content Marketing หรือทำ Topic Cluster กันมาแล้ว แต่ Conversion Rate ที่ได้กลับมานั้นมีค่อนข้างน้อย จะทำอย่างไรได้บ้าง ทาง Digital Break Time เลยจะมาเสนอวิธีที่ช่วยเพิ่ม Conversion Rate ที่ใช้งานได้จริง สามารถทำได้เลย ไม่ยุ่งยากอีกด้วย

เทคนิค MAXIMIZE CONVERSION VALUE

เทคนิค Maximize Conversion Value ใน Google Ads ปรับใช้กับ Lead ใช้งานดี ได้ Lead คุณภาพ

เทคนิค Maximize Conversion Value ใน Google Ads สามารถนำมาปรับใช้กับ Lead ได้ไหม ลองใช้แล้วเป็นอย่างไร ต้องบอกก่อนว่าตัวผู้เขียนเองทำโฆษณาเกี่ยวกับ Lead ค่อนข้างบ่อย และเทคนิคนี้เจ้าหน้าที่ Google Ads ได้โทรมาให้คำปรึกษา แล้วตัวผู้เขียนเองรู้สึกว่าวิธีนี้มันเข้าท่าดี เลยนำมาแบ่งปันกับผู้อ่านและคนที่ติดตาม Digital Break Time สามารถนำไปปรับใช้ได้

Micro conversion คืออะไร

Micro conversion คืออะไร ทำความรู้จักกับ ไมโครคอนเวอร์ชัน สิ่งเล็ก ๆ ที่ช่วยให้ CRO ดียิ่งขึ้น

Micro Conversion คืออะไร ไมโครคอนเวอร์ชัน จะช่วยให้การทำ CRO (Conversion Rate Optimization) เป็นเรื่องที่ง่ายขึ้น และทำให้เราเห็นภาพรวมของที่มาของ Conversion ได้มากขึ้นด้วย Micro Conversion ความหมาย คือ คอนเวอร์ชัน Conversion ที่มีความสำคัญรอง ๆ ลงมานอกเหนือจาก Conversion หลัก โดยเฉพาะในเว็บไซต์ ค่า Conversion ผู้ใช้เป็นคนกำหนดเอง เราสามารถกำหนด Micro Conversion ได้ตามที่เราต้องการ และค่า Micro Conversion เมื่อเราตั้งค่าได้อย่างถูกวิธีก็จะช่วยให้เติมเต็ม Funnel ของทาง Marketing ได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น จะจัดกลุ่ม และลำดับความสำคัญของ Micro Conversion ได้หรือไม่ ยกตัวอย่าง ไมโครคอนเวอร์ชัน เราจะสามารถจัดลำดับความสำคัญ และจัดกลุ่มของ Conversion ได้ไหม บอกเลยว่าได้ เรามาดูสถานการณ์จริงของการจัดกลุ่มและลำดับความสำคัญของ Micro Conversion…

เพิ่ม Conversion

เพิ่ม Conversion ในบทความ สำหรับ Content ในเว็บไซต์ แบบง่าย ๆ ทำได้จริง

เพิ่ม Conversion ในบทความ สำหรับใครที่ทำ Content Marketing โดยเฉพาะในเว็บไซต์เป็นหลัก มักจะประสบปัญหาใหญ่นั่นคือ การที่คอนเทนต์ของเราในเว็บไซต์มีคนอ่านน้อยเหลือเกิน และยังไม่ทำให้เกิด Conversion ด้วย ทำให้หลายคนถอดใจไปเสียก่อน

Conversion เยอะ

Conversion เยอะ แต่ไม่ได้คุณภาพ ทำอย่างไรดี ให้ได้คุณภาพของ Conversion สูงขึ้น พร้อมเป็นลูกค้าเราจริง ๆ

Conversion เยอะ นับว่าเป็นเรื่องที่ดีในการทำ Digital Marketing นั่นหมายความว่าคุณได้ยอดคนลงทะเบียนสูงขึ้น สนใจสินค้าบริการมากขึ้น แบบเห็นได้ชัดเจน แต่หลายเคสที่เจอมากคือ เหล่า Conversion (หรือ Lead) ที่ได้มา มักจะมีคุณภาพน้อยเกินไป เช่นไม่พร้อมซื้อสินค้าหรือบริการของคุณ แต่ลงทะเบียนไว้เฉย ๆ แล้วจะทำอย่างไร ต้องอธิบายก่อนว่า ในการทำเพื่อให้ได้ Lead มา แน่นอนว่าย่อมต้องมีคนที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายพร้อมซื้อสินค้าในอุดมคติหลุดมาบ้างอยู่แล้ว แต่ทางที่ดีไม่ควรจะมีมาก เพราะยิ่งมีมากนั่นหมายถึงการทำการตลาดออกมาคลุมเครือมากจนเกินไป ทำให้คุณเสียโอกาสโดยใช่เหตุอีกด้วย มาดูวิธีการแก้ว่าทำอย่างไรถึงจะได้ Conversion ที่มีคุณภาพ พร้อมซื้อสินค้าและบริการของคุณ Conversion เยอะ เพราะหว่านแห แนะนำเลือกกลุ่มเป้าหมายให้ดี อย่ากว้างเกินไป ถ้าคุณไม่ได้มีเงินถุงเงินถัง มีเงินเหลือเฟืออยู่แล้ว การเลือกกลุ่มเป้าหมายให้ตรงจุด แน่นอนว่าย่อมมีผลมาก เริ่มตั้งแต่การตั้ง Interest ว่าสินค้าของคุณอยู่ในกลุ่มใด คนแบบไหนน่าจะสนใจบ้าง อันนี้แน่นอนว่า Brand Persona ต้องมีความชัดเจนตั้งแต่แรก ต่อมาการทำ Demographic ถึงแม้ว่าการทำ Demographic จะฟังดูเป็นเรื่องเก่าและล้าหลัง แต่ก็ยังคงใช้ได้เสมอ สำหรับการเลือกให้เป็น…

วัด Conversion

วัด Conversion แบบไหนดี ระหว่างการตั้งค่าแบบ Destination กับ Button Click ข้อดีข้อเสียต่างกันอย่างไร

วัด Conversion แบบไหนดี เอาเข้าจริงแล้วการวัด Conversion นั้นมีหลายรูปแบบมาก แต่เท่าที่ผู้เขียนได้สัมผัสมามากที่สุดคงจะหนีไม่พ้นการวัด Conversion ในรูปแบบ Destination แต่เนื่องจากไม่นานมานี้ผู้เขียนได้มีโอกาสตั้งค่า Conversion ในรูปแบบของการวัดแบบ Button Click นั่นจึงเป็นที่มาของบทความนี้นั่นเองว่า Conversion ทั้งสองอย่างนี้จะวัดแบบไหนดี แต่ละข้อมีข้อดีข้อเสียเป็นอย่างไร วัด Conversion แบบ Destination แน่นอนว่าสำหรับคนที่ทำงานด้าน Digital Marketing การตั้งค่า Conversion ในรูปแบบนี้ อาจเป็นรูปแบบที่คุ้นเคยมากที่สุด การวัด Conversion แบบ Destination คือการวัดด้วยหน้า Url ที่ผู้ใช้งานไปถึง ทำให้เป็นหน้าที่บ่งบอกได้ว่าผู้ใช้งานมาถึงหน้านั้นแล้ว จึงนับเป็น 1 Conversion ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราซื้อของจากเว็บไซต์ E-Commerce เจ้าหนึ่ง เมื่อเราหยิบของใส่ตะกร้าแล้ว กด Next ต่อไปเรื่อย ๆ จะพบกับหน้ชำระเงิน เมื่อชำระเงินสำเร็จ ก็จะ Reload หน้าเป็นหน้า…